บทที่ 8

บทที่ 8
เทคโนโลยีอวกาศ

กล้องโทรทรรศน์
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 -กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง  ใช้เลน์ในการรวม  เหมาะสำหรับใช้สังเกตพื้นผิวดวงจันทร์และดาวเคราะห์ เนื่องจากให้ภาพชัดแต่มีข้อเสียคือ  อาจเกิดความคลาดสี



-กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง  ใช้กระจกเว้าในการรวมแสง ทำให้ราคาประหยัด ขนาดใหญ่แต่สั้น เหมาะในการสังเกตการณ์วัตถุที่อยู่ไกล เช่น เนบิวลา  กาแล็กซี 





กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล
-ติดตั้งนอกโลกเพื่อป้องการการรบกวนของอวกาศที่หุ้มห่อโลก
-เป็นกล้องชนิดสะท้อนแสง
-ใช้พลังงานจากแผงเซลล์สุริยะ
-สามารถส่องกล้องได้ไกล  14,000 ล้านปีแสง


ดาวเทียม (Satellite)
-ดาวเทียม คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่สามารถโคจรรอบโลกได้




ความเร็วในการโคจรรอบโลกของดาวเทียม

แรงสู่ศูนย์กลาง = แรงโน้มถ่วงของโลก 
                       mv2/r      = G (Mm/r2)
                               v    =  (GM/r)1/2 

โดยที่ v = ความเร็วของดาวเทียม
          M = มวลของโลก
          m = มวลของดาวเทียม
          r = ระยะทางระหว่างศูนย์กลางของโลกกับดาวเทียม
          G = ค่าคงที่ของแรงโน้มถ่วง = 6.67 x 10-11 Nm2/kg2




ความเร็วในการโคจรที่ระดับความสูงดังนี้



ประเภทของดาวเทียม
-ดาวเทียมสื่อสาร  เช่น  ไทยคม  อินเทลแสต  ปาลาปา
-ดาวเทียมสำรวจ เช่น  แลนด์แซต  MOS-1  ธีออส
-ดาวเทียมพยากรณ์อากาศ  เช่น GMS-3 , NOAA
-ดาวเทียมทางการทหาร 
-ดาวเทียมด้านวิทยาศาสตร์


ยานอวกาศ
ยานอวกาศคือ ยานที่ออกไปนอกโลกเพื่อสำรวจข้อมูลของดาวต่างๆ แบ่งออกเป็น  2 ประเภท
  - ยาวอวกาศที่ไม่มีมนุษย์ควบคุม เช่น  ยานไวกิง (ดาวอังคาร)  ยานมารีเนอร์ (ผ่านใกล้ ดาวพุธ  ดาวศุกร์ ) ยานมาร์ส (ลงดาวอังคาร)
   -ยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม เช่น ยานอะพอลโล  ( ลงดวงจันทร์ )


  การส่งดาวเทียมและยาวอวกาศจากพื้นโลกไปยังวงโคจร


ความเร็วหลุดพ้น

                                                  {\displaystyle v_{e}={\sqrt {\frac {2GM}{r}}},} 
                                                                

 ves = ความเร็วหลุดพ้นของยานอวกาศ
          M = มวลของดาวเคราะห์ 
          m = มวลของยานอวกาศ
          r = ระยะทางระหว่างศูนย์กลางของดาวเคราะห์กับยานอวกาศ​ 
          G = ค่าคงที่ของแรงโน้มถ่วง = 6.67 x 10-11 Nm2/kg2

   


การพัฒนาเชื้อเพลิงที่ใช้ในอวกาศ 
-พ.ศ.2446  ไชออลคอฟสกี  เสนอว่า  การใช้เชื้อเพลิงแข็งอย่างเดียวไม่มีแรงขับพอที่จะพ้นจากพื้นโลกได้ ต้องใช้เชื้อเพลิงเหลวร่วมด้วย
-พ.ศ.2469   โนเบิร์ต  กอดดาร์ด  ใช้ออกซิเจนเหลวเป็นสารในการเผาไหม้ และใช้ไฮโดรเจนเหลวเป็นเชื้อเพลิง


ระบบขนส่ง
  ประกอบด้วย 3 ส่วน
1.จรวดเชื้อเพลิงแข็ง
2.ถังเชื้อเพลิงภายนอก
3.ยานขนส่งอวกาศ



สถานีอวกาศนานาชาติ
-สร้างขึ้นจากความร่วมมือของประเทศต่างๆ 16 ประเทศ  สูงจากพื้นโลก  354  km
-ประเทศต่างๆจะนำข้อมูลที่ได้มาใช้ประโยชน์ร่วมกัน
-ใช้พลังงานจากแผงเซลล์สุริยะ
-คาบการโคจร    91.34  นาที 




















ความคิดเห็น

บทความที่ได้รับความนิยม